ประวัติส่วนตัว
ชื่อ ด.ญ.พรกกนก เตชะจารุพันธ์
ชื่อเล่น พราว
วันเกิด วันจันทร์ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ.2543
อายุ 14
ส่วนสูง 165
น้ำหนัก 44
เรียนที่โรงเรียน วัดราชโอรส
ชอบสี ดำ
อาหารที่ชอบ เกี๊ยว
ผลไม้ที่ชอบ กล้วย
งานอดิเรก อ่านการ์ตูน
เพลงที่ชอบ All About That Bass
สิ่งที่ชอบ การวาดรูป
สิ่งที่ชอบ การวาดรูป
วิชาที่ไม่ชอบเรียน คณิตศาสตร์
อาชีพบรรณารักษ์
ผู้ที่จบบรรณารักษ์ สามารถไปทำงานเป็น
- นักจัดการข้อมูลในศูนย์ข้อมูลต่างๆได้ หรือจะเรียกให้โก้ๆก็ต้องเรียกว่าศูนย์สารสนเทศขององค์กร ต่างๆ
- มีหลายๆคนก็ไปเป็นนักข่าว ,
- ฝ่ายข้อมูลบริษัทโฆษณา ,
- เว็บมาสเตอร์,
- เจ้าหน้าที่บริการงานทั่วไป,
- นักวิชาการสารสนเทศ,
- อาจารย์ กระทั่งเป็นเจ้าของร้านทอง ก็เป็นร้านทองIT
จุดเด่นของสาขาบรรณารักษ์ฯ
ก็คือการสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการทำงานลักษณะต่างๆได้อย่างหลากหลายนั่นเองอีกทั้งยังเป็นที่ต้องการของตลาดงานมาก โดยเฉพาะตำแหน่งบรรณารักษ์ฯ เนื่องจากคนสนใจน้อยแต่ความต้องการ และการพัฒนาห้องสมุดมีมากนั่นเอง
คราวนี้มีมหาวิทยาลัยใดบ้างล่ะที่เปิดสอน ในปัจจุบัน หลักสูตรในสาขาด้านนี้ มีอยู่หลายมหาวิทยาลัยและมีชื่อเรียกขานต่างกัน อาจจะแบ่งได้ดังนี้
สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์หรือ สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ เช่น คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร, คณะศิลปศาสตร์ มธ. , คณะมนุษยศาสตร์ มศว., คณะมนุษยศาสตร์ฯ ม.ทักษิณ ฯลฯ
สาขาสารสนเทศศาสตร์ เช่น คณะมนุษยศาสตร์ฯ มข., คณะมนุษศาสตร์ มช., คณะสารสนเทศศาสตร์ ม.มหาสารคาม, คณะมนุษยศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์, คณะเทคโนโลยีสังคม ม.เทคโนโลยีสุรนารี ฯลฯ
สาขาสารนิเทศศึกษา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ
ซึ่งทั้งหมดล้วนมีรากเหง้าที่มาจาก สาขาบรรณารักษ์ทั้งสิ้น คณาจารย์ส่วนใหญ่ จะสังกัดภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และจบด้านบรรณารักษศาสตร์เป็นส่วนใหญ่
นอกจากระดับปริญญาตรีแล้ว ยังสามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาโท เอก ทั้งในและต่างประเทศได้อีกด้วย
การจับคอร์ดกีตาร์
การจับคอร์ดนั้นให้นั่งในท่าที่ถนัด
ใช้มือกำหลวม ๆ ที่คอกีตาร์ ถ้าเป็นการจับคอร์ดที่ไม่ใช้คอร์ดทาบ
จะใช้นิ้วโป้งประคอง
ด้านหลังคอกีต้าร์เพื่อให้กระชับมั่นคงและช่วยให้มีแรงกดสายมากขึ้น
การจับสายนั้นจะต้องโก่งนิ้วที่จับสายอยู่ พยายามให้ปลายนิ้วที่กดสายตั้งฉากกับฟิงเกอร์บอร์ด
มากที่สุด เพราะถ้านิ้วราบไปกับคอกีต้าร์จะทำให้โดนสายอื่นทำให้เสียงบอด
ส่วนตำแหน่งการกดให้กดลงในช่องกลางระหว่างเฟร็ต หรือ ค่อนลงมานิดหน่อย
แต่นิ้วยังไม่โดนเฟร็ต ถ้านิ้วโดนเฟร็ตขณะกดสายจะทำให้เสียงบอร์ด
โดยจะแบ่งเป็น major chord ทั้งหมด 5 คอร์ด
ซึ่งก็คือ C D E G A และ minor chord อีก 3 คอร์ด คือ Dm Em Am วิธีจับก็ตามรูปข้างล่าง
คอร์ดเหล่านี้เป็นคอร์ดเปิด (open
chord) ทั้งหมด ซึ่งก็คือไม่มีอันไหนเป็นคอร์ดทาบ (barred chord) เลย
คอร์ดทาบจะเป็นคอร์ดที่ต้องใช้นิ้วของเราทาบไปที่ fretboard กีตาร์เพื่อที่จะกดสายกีตาร์พร้อมๆ กันหลายๆ เส้น คนที่เพิ่งเริ่มหัดเล่น
นอกจากมีปัญหาเรื่องเจ็บนิ้วเมื่อเล่นไปได้ซักพัก
แรงที่นิ้วจะยังไม่ค่อยมี ทำให้จับคอร์ดทาบไม่ได้
พอดีดแล้วเสียงที่ออกมาไม่ครบทุกเส้น หรือที่เราเรียกกันว่า บอด (mute)
คนที่เพิ่งหัดเล่นใหม่ๆ ควรจะจำ shape ของคอร์ดเหล่านี้ให้ขึ้นใจ ฝึกเล่นให้สามารถเปลี่ยนคอร์ดให้คล่อง เพราะคอร์ดเปิดเหล่านี้เป็นพื้นฐานในการกดคอร์ดทาบอื่นๆ เล่นคอร์ดเหล่านี้ได้จนคล่องแล้ว ต่อไปเล่นเก่งขึ้น พอเริ่มเล่นคอร์ดทาบ บวกกับความเข้าใจทฤษฎีดนตรีอีกนิดหน่อย ก็ไม่ต้องมานั่งจำตำแหน่งคอร์ดทาบใหม่
เวลาที่ strum คอร์ด อยากให้เพื่อนๆ ฟังดูให้มั่นใจว่าทุกสายควรมีเสียงออกครบรึป่าว
ไม่ได้มีสายใดที่เสียงบอด ถ้ามีให้ลองขยับข้อมือดู
ถ้ารู้สึกว่าข้อมือดันเข้าหาตัวมากๆ กดแล้วก็จะไม่ถนัดทำให้บอดได้
หรือลองพยายามโก่งนิ้วมากขึ้น และที่สำคัญ เวลากดสายกีตาร์ ส่วนที่สัมผัสสายกีตาร์ต้องเป็นด้านบนสุดของนิ้ว